การขอจดทะเบียนองค์กรอาหารและยา (อย.) และการนำเข้าเครื่องสำอางในประเทศไทย

ประกอบการ เจ้าของแบรนด์ และบริษัทที่ต้องการผลิต และนำเข้าเครื่องสำอางมาจำหน่ายในประเทศไทยนั้น จำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (Food And Drug Administration: FDA) อย่างถูกต้องก่อน ในตลอดระยะเวลากว่า 10 ปี
เราคือผู้เชี่ยวชาญที่รับให้คำปรึกษาและดำเนินการเกี่ยวกับการยื่นขอใบรับใบอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (Food And Drug Administration: FDA) อย่างมืออาชีพ นอกจากเรายังมีประสบการณ์ในการดำเนินการนำเข้าเครื่องสำอางให้กับลูกค้าต่างประเทศที่ต้องการนำเข้าเครื่องสำอางมาจำหน่าย และขยายตลาดในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก
วิธีการนำเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางมาจำหน่ายในประเทศไทย
การนำเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางมาจำหน่ายในประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (Food And Drug Administration: FDA) ได้มีการออกกฎหมายควบคุมการนำเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยโดยแบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์ไว้อย่างชัดเจน โดยผู้ประกอบการที่ต้องการนำเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจำเป็นต้องให้ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัท คำอธิบาย รูปถ่ายของโรงงานผลิต สถานที่จัดเก็บ และหลักฐานการปฏิบัติตามกฎหมายไทยตามมาตรฐานการผลิต นอกจากนี้ผู้นำเข้าจะต้องแปลฉลากผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นภาษาไทยด้วย
เครื่องสำอาง ตามภายใต้กฎหมายสำนักคณะกรรมการอาหารและยาของประเทศไทย (Food And Drug Administration: FDA) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทา ถูนวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ บริเวณภายนอกของร่างกาย และยังรวมถึงการใช้กับฟันและเยื่อบุในช่องปากโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความสะอาด ความสวยงาม หรือช่วยระงับกลิ่นกายและปกป้องดูแลส่วนต่าง ๆ

นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงเครื่องประทิ่นผิวด้วย ซึ่งผลิตภัณฑ์อันได้ชื่อว่า เครื่องสำอางเหล่านี้จำเป็นต้องลงทะเบียนที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของประเทศไทย (Food And Drug Administration: FDA) เพื่อให้มั่นใจว่าปลอดภัยสำหรับผู้บริโภคก่อนนำเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย
สำหรับลูกค้าต่างประเทศหากต้องการนำเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางมาจำหน่ายยังประเทศไทย ต้องปฏิบัติตามกฏหมายและขั้นตอนด้วยเช่นกัน หากคุณกำลังมองหาผู้เชี่ยวชาญที่สามารถให้คำแนะนำ หรือดำเนินการนำเข้าผลิตภัณต์เข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยอย่างมืออาชีพด้วยประประสบการณ์ทางด้านการนำเข้าเครื่องสำอางมากว่า 10
การขอจดทะเบียน จดแจ้งอย. และการนำเข้าเครื่องสำอางในประเทศไทย
สำหรับผู้ประกอบการ เจ้าของแบรนด์ และบริษัทที่ต้องการผลิต และนำเข้าเครื่องสำอางมาจำหน่ายในประเทศไทยนั้น จำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (Food And Drug Administration: FDA) อย่างถูกต้องก่อน
ผลิตภัณฑ์สุขภาพใดบ้างที่ต้องอยู่ในความดูแลของอย.






- ผลิตภัณฑ์อาหาร และอาหารเสริม ได้แก่ อาหารที่บรรจุในภาชนะปิดสนิท เช่น นม กาแฟ อาหารกระป๋อง บะหมี่ กึ่งสำเร็จรูป และ อาหารเสริม (ตามกฎหมายคือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร) ฯลฯ
- ผลิตภัณฑ์ยารักษาโรค ได้แก่ ยาเม็ด ยาน้ำ ยาทา ยาฉีด เป็นต้น
- ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้เพื่อการดูแลผิว และผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดความสวยงาม เช่น ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิวหน้า, ครีมหรือโลชั่นบำรุงผิว, ครีมรองพื้น, แป้งทาหน้า, ลิปสติก, อายไลเนอร์, บรัชออน, ครีมกันแดด, น้ำหอม, ครีมย้อมผม, เจลแต่งผม, ทาเล็บ เป็นต้น
- ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ ได้แก่ ถุงยางอนามัย, คอนแทคเลนส์สายตา และคอนแทคเลนส์แฟชั่น เครื่องนวด, ที่นอนแม่เหล็ก, พลาสเตอร์แม่เหล็ก, เครื่องสั่นสะเทือน, เก้าอี้ไฟฟ้าสถิต เป็นต้น
- ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายในบ้านเรือน ได้แก่ ยากำจัดแมลง, น้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ, น้ำยาปรับผ้านุ่ม, น้ำยาล้างจาน เป็นต้น
- ผลิตภัณฑ์วัตถุเสพติด ที่นำมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เช่น มอร์ฟีน ฝิ่นยา หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาท เช่น ยานอนหลับ ยาลดความอ้วนบางชนิด แม้แต่สารระเหยจำพวก ทินเนอร์ แลกเกอร์ กาวยาง เป็นต้น
บริการจดแจ้ง อย. สามารถทำได้ 2 กรณี มีดังนี้


หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคำขอ และในการพิจารณาอนุญาต
- การจดแจ้งเป็นไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
- ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสำอางต้องได้รับใบรับจดแจ้งแล้ว จึงจะสามารถผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอางนั้นได้
- คุณสมบัติของ ผู้ผลิต นำเข้า หรือรับจ้างผลิตเพื่อขาย ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
- กรณีเป็นบุคคลธรรมดาต้องมีสัญชาติไทยที่อายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
- กรณีเป็นนิติบุคคลจะต้องจดทะเบียนในประเทศไทย
- ยื่นจดแจ้งตามแบบแจ้งรายละเอียดการผลิตเพื่อขายหรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม (ใบจ.ค.1)
- การจดแจ้งเครื่องสำอางต้องไม่ใช้ชื่อการค้า หรือชื่อเครื่องสำอางไปในทำนองโอ้อวดไม่สุภาพ หรืออาจทำให้เข้าใจผิดจากความจริง ไม่ใช้ชื่อการค้าหรือชื่อเครื่องสำอางที่ไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรมอันดีงามของไทย หรือสื่อไปในทางทำลายคุณค่าของภาษาไทย
- การใช้ชื่อ หรือลักษณะของเครื่องสำอาง ต้องไม่เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังนี้
- ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องกำหนดชื่อเครื่องสำอางที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือขาย
- ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องกำหนดลักษณะเครื่องสำอางที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือขาย
- สูตรส่วนผสมมีสารที่เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับรายการสารด้านเครื่องสำอาง
- กรณีการจดแจ้งเฉพาะเพื่อการส่งออกเท่านั้น จะต้องมีคุณภาพมาตรฐาน ฉลาก หรือรายละเอียดอื่นๆตามผู้สั่งซื้อกำหนด
ขั้นตอนในจดอย. เครื่องสำอาง

เอกสารในการยื่นจดแจ้ง อย. ประกอบด้วย
